ทฤษฎีทางสถาปัตยกรรมจะบังเกิดผลจริงได้ก็ต่อเมื่อสถาปนิกลงมือทำ และสถาปนิกก็คือผู้ถอดบทเรียนจากการลงมือทำงานจริงกลับมาสร้างแนวคิด-วิธีการใหม่ๆ
Well-being Architecture การสร้างสรรค์สถาปัตยกรรมเพื่อคุณภาพชีวิต ในมุมมองของ GreenDwell

ทฤษฎีทางสถาปัตยกรรมจะบังเกิดผลจริงได้ก็ต่อเมื่อสถาปนิกลงมือทำ และสถาปนิกก็คือผู้ถอดบทเรียนจากการลงมือทำงานจริงกลับมาสร้างแนวคิด-วิธีการใหม่ๆ
“ Sculpture มันคือองค์ประกอบหนึ่งที่ไม่ได้สำคัญไปมากกว่าอะไร คือถ้ามองเปรียบเทียบเป็นหนัง หนังทั้งเรื่องเลยไม่มีตัวโกง มีแต่พระเอกกับนางเอก
Continue reading “Dong Sculpture ประติมากรผู้สรรสร้างงานศิลปะเพื่อส่งเสริมงานสถาปัตยกรรม”
เคยคิดไหมว่า อะไรคือสิ่งสำคัญในการอยู่อาศัยภายในคอนโด อะไรคือสิ่งสำคัญของการออกแบบคอนโด และอะไรที่ทำให้คอนโดกลายเป็นอีกหนึ่งสถาปัตยกรรมที่ใกล้ชิดกับคนรุ่นใหม่มากที่สุด
“kindness มันเป็นเหมือนปรัชญาที่สะท้อนตัวเราเอง เรารู้สึกว่าเราต้องให้ค่าของทุกคนหรือเคารพอาชีพของทุกคนเท่ากัน
Continue reading “สถาปัตยกรรมภายในคิดบวกของ ชารีฟ ลอนา แห่ง ‘Studio Act of kindness’”
มีคนเคยกล่าวว่าการออกแบบ “บ้าน” คือการออกแบบที่ยากที่สุด นั่นเพราะเป็นเรื่องของการออกแบบ “ชีวิต” ของผู้เป็นเจ้าของบ้านโดยตรง มันจึงไม่ง่ายเลยที่จะออกแบบพื้นที่เพื่อตอบรับกับความต้องการของคน ที่บางครั้งนั้น ซับซ้อนยิ่งกว่าเขาวงกตเสียอีก
Continue reading “เมื่อการออกแบบบ้าน คือการออกแบบชีวิต คุณรัฐวุฒิ จันทร์ศรีตระกูล แห่ง “A49HD””
หากเสน่ห์ของคอนกรีตอยู่ที่ร่องรอยของประสบการณ์แล้ว สำหรับ คุณมีชัย เจริญพร สถาปนิกเจ้าของ Backyard Architect เสน่ห์อีกอย่างหนึ่งของการทำงานคอนกรีต
Continue reading “Concrete As The Fine Artistic Material ความไม่เรียบของความเรียบร้อย”
การทดลอง การปรับเปลี่ยน และการเชื่อมต่อช่วงเวลาของอดีตและปัจจุบัน ด้วยสถาปัตยกรรมจากตึกแถว
Continue reading “Creative Crews Office ออฟฟิศดิบ เท่ ที่เกิดจากการรีโนเวทตึกแถวเก่าอายุกว่า 20 ปี”
“ทุกอย่างมันมีเหตุผล การออกแบบต้องตอบได้ว่า ทำไมผลลัพธ์จึงเป็นแบบนี้”
ความไร้ชื่อที่สะท้อนตัวตนได้ดีที่สุด ของคุณพงศ์ภัทร เอื้อสังคมเศรษฐ์ และคุณปานดวงใจ รุจจนเวท แห่ง Anonym
Continue reading “10 คำถามเรื่องบ้าน กับตัวตนที่ไร้ตัวตนของ Anonym”
“พื้นถิ่นมันไม่ใช่แค่งานไม้ไผ่ พื้นถิ่นมันคือวิถีชีวิตของคนที่ใช้ชีวิตอยู่กับธรรมชาติได้ เราอาจจะเรียกภูมิปัญญา แต่จริงๆคือการแก้ปัญหาด้วยสิ่งรอบตัว และความเข้าใจของตัวเอง”
Continue reading ““พหลไชย เปรมใจ” กับมุมมองความพอดีในการออกแบบสถาปัตยกรรม”